หัวข้อสัมมนา
1. มาตราสำคัญ ๆ ในพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนที่นักบัญชีควรศึกษาและทำความเข้าใจ
2. ประเด็นสำคัญในบัตรส่งเสริมที่นักบัญชีต้องศึกษาและทำความเข้าใจ
4. วันเริ่มมีรายได้จากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
5. การนับระยะเวลาที่ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลต้องนับอย่างไร
6. การวางระบบบัญชีให้เหมาะสมกับกิจการ BOIรวมทั้งกิจการที่มีทั้ง BOI และ NON-BOI
6.1 วัตถุประสงค์ของการวางระบบบัญชี
6.2 ลักษณะของการวางระบบบัญชีที่ดี
6.3 ลักษณะและส่วนประกอบที่สำคัญของระบบบัญชี
7. หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ทรัพย์สินถาวร) สำหรับกิจการ BOIและ NON BOI
7.1 การรับรู้รายการทรัพย์สินถาวร
7.2 การคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินถาวร
7.3 การตัดจำหน่ายทรัพย์สินถาวร
8. หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือสำหรับกิจการBOI และ NON BOI
8.1 ประเภทสินค้าคงเหลือ
8.2 การจัดทำรายงานสินค้าคงเหลือ
8.3 การตัดจำหน่ายสินค้าคงเหลือ
8.4 การตั้งค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ (NRV)
8.5 การตั้งค่าเผื่อสินค้าคงเหลือเสื่อมคุณภาพ (Provision)
9. การคำนวณกำไรและขาดทุนสำหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามประกาศกรมสรรพากร
9.1 การคำนวณกำไรและขาดทุนต้องเป็นไปหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามประมวลรัษฎากร
9.2 รายได้ที่จะนำไปคำนวณกำไรสุทธิจากการประกอบกิจการซึ่งจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
9.3 กิจการมีทั้งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (BOI) และไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (NON-BOI)
9.4 การนำผลขาดทุนที่เกิดขึ้นระหว่างได้รับยกเว้นภาษีฯไปหักออกจากกำไรที่เกิดขึ้นภายหลังยกเว้นภาษีฯ
9.5 เงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมซึ่งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
10. ประเด็นปัญหาการรับรู้รายได้และรายจ่ายทางบัญชีกับกฎหมายภาษีอากรของกิจการBOI
11. แนวทางในการเฉลี่ยรายได้และรายจ่ายของ BOI และ NON BOI
12. ภาษีซื้อในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
• ภาษีซื้อขอคืนได้ / เครดิตภาษีขายได้
• ภาษีซื้อห้ามขอคืน แต่สามารถรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายได้
• ภาษีซื้อห้ามขอคืน และห้ามรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย
13. รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากรมาตรา 65 ตรี
14. หลักเกณฑ์การรายงานผลการดำเนินงานก่อนการสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลต่อBOI
15. เงื่อนไขและสิทธิประโยชน์ให้หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่า
16. กรณีศึกษาประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
• ปัญหาการแยกรายได้ ต้นทุนผลิต และต้นทุนขาย (กรณีมี Line การผลิตมากกว่า 1 โดยมีทั้ง BOI และ NON-BOI)
• ปัญหาวัตถุดิบ / วัสดุที่ใช้ในการผลิตตามสิทธิ BOI ถูกนำบางส่วนมาผลิตเพื่อขายในประเทศ (FG มีทั้ง BOI และ NON-BOI ในตัวเอง)
• ปัญหานำ FG มาขายในประเทศ ทั้งๆ ที่ต้องส่งออกตามเงื่อนไข (กรณีLine การผลิตทั้งหมด สามารถผลิตเพื่อจำหน่ายทั้งในประเทศและส่งออก)
• ปัญหาปริมาณการผลิตเกินกว่ากำลังการผลิตที่ได้รับอนุมัติ
• ปัญหาส่วนสูญเสียเกินปกติ
• ปัญหาการจัดทำรายงาน Stock ไม่ถูกต้อง
• ปัญหาการปันส่วนค่าใช้จ่ายขาย ค่าใช้จ่ายบริหาร ต้นทุนทางการเงิน ไม่ถูกต้อง
• ปัญหาการนำเข้าวัตถุดิบเกินทำให้เกิด Stock ติดลบ
• ปัญหากิจการ NON-BOI ทำธุรกิจจำหน่ายเครื่องจักรพร้อมติดตั้ง ได้นำเข้าเครื่องจักรโดยใช้สิทธิ BOI ของลูกค้า
• ปัญหาการจัดการเครื่องจักรหลังยกเลิกโครงการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
• ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกรณีปฏิบัติผิดเงื่อนไขในบัตรส่งเสริม
17. คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
การสัมมนานี้เหมาะสำหรับ
ผู้จัดทำบัญชี และผู้บริหารของกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน และผู้สอบบัญชี ทั้งนี้ ผู้เข้าอบรมควรมีความรู้พื้นทางทางบัญชี
และมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ทั่วไปของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
วิทยากร
อาจาร์ย ดร.วรกร แช่มเมืองปัก
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,ผู้สอบบัญชีสหกรณ์,ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์
ผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและตรวจสอบภายใน
«« หลักสูตรอยู่ระหว่างการขออนุมัตินับชั่วโมงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพของ
ผู้ทำบัญชี(CPD) และผู้สอบบัญชี (CPA)
การยกเลิกการสัมมนา
เนื่องจาก สมาคมได้จัดเตรียมการสัมมนาไว้ล่วงหน้า กรณีที่ท่านสำรองที่นั่งมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว หากท่านประสงค์ยกเลิกการเข้าร่วมสัมมนา
กรุณาทำหนังสือยกเลิกกับเจ้าหน้าที่สมาคม ก่อนวันสัมมนา ไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ มิฉะนั้น สมาคมขอสงวนสิทธิ์ในการเก็บค่าธรรมเนียมจากท่าน 50% ของราคาค่าสัมมน